การขอความช่วยเหลือสำหรับคนที่คุณรัก

ช่วยให้คนที่คุณรักได้เดินหน้าเป็นก้าวแรกสู่การกลับไปใช้ชีวิตได้อย่างที่พวกเขาชื่นชอบ

ผู้หญิงสูงวัยกำลังพูดคุยอยู่ในงานเลี้ยง

อะไรบ้างที่คุณจะพบในหน้านี้

  • คุณจะสนับสนุนคนที่คุณรักได้อย่างไร
  • คนอื่น ๆ รับมืออย่างไรกับปัญหาการสูญเสียการได้ยินของคนที่พวกเขารัก
  • คุณสามารถทำอะไรได้ในลำดับต่อไป

ก้าวแรกของการช่วยคนที่คุณรัก

คนที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยินมักจะบอกว่าพวกเขารู้สึกโดดเดี่ยว มันเป็นเรื่องยากก็จริง แต่ก็เป็นเรื่องหนักหนาเช่นกันสำหรับคนที่รักพวกเขา ไม่ว่าจะเป็นภรรยา สามี พ่อแม่ หรือเพื่อนของคุณ การต้องเฝ้าดูคนที่เราห่วงใยปิดกั้นตัวเองจากโลกภายนอกย่อมเป็นเรื่องที่เจ็บปวดเสมอ

แต่ชีวิตไม่จำเป็นต้องลงเอยแบบนั้น

ลองพูดคุยกับพวกเขาเกี่ยวกับกา���สูญเสียการได้ยิน มีตัวเลือกที่จะช่วยให้พวกเขาได้ยินมากขึ้น แม้ว่าเครื่องช่วยฟังจะไม่ได้ผลแล้วก็ตาม 

งานวิจัยพบว่ามีจุดเชื่อมโยงระหว่างการสูญเสียการได้ยินและความโดดเดี่ยว 1,2 นี่แหละคือเหตุผลที่หากคุณคิดว่าคนที่คุณรักประสบกับการสูญเสียการได้ยิน คุณต้องรีบดำเนินการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การเมินเฉยต่อสัญญาณส่งผลกระทบมากกว่าแค่ความสามารถในการได้ยินของพวกเขา

 

สิ่งที่ต้องทำในลำดับถัดไป

นักโสตสัมผัสวิทยาสามารถพุดคุยกับคนที่คุณรัก ทดสอบการได้ยินของพวกเขา และช่วยให้พวกเขาค้นพบวิธีแก้ไขที่เหมาะสมกับความต้องการของพวกเขา

 

ค้นหาผู้เชี่ยวชาญด้านอุปกรณ์ช่วยการได้ยินใกล้บ้านคุณ

ข้อจำกัดความรับผิดชอบ

การรักษาการได้ยินและการใช้อุปกรณ์ช่วยการได้ยิน ควรอยู่ภายใต้คำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพของคุณเท่านั้น อาจได้ผลลัพธ์แตกต่างออกไป และผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพของคุณจะแนะนำคุณเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ ปฏิบัติตามคำแนะนำการใช้งานเสมอ ผลิตภัณฑ์บางตัวอาจมีในบางประเทศเท่านั้น กรุณาสอบถามรายละเอียดจากตัวแทนจำหน่าย Cochlear ในพื้นที่ใกล้เคียงสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์

สำหรับรายการเครื่องหมายการค้าของ Cochlear ฉบับสมบูรณ์ โปรดไปที่หน้าข้อกำหนดในการใช้งานของเรา

เอกสารอ้างอิง

  1. Contrera K, Sung Y, Betz J, Li L, Lin F. Change in loneliness after intervention with cochlear implants or hearing aids. The Laryngoscope. 2017;127(8):1885-1889.
  2. Rutherford B, Brewster K, Golub J, Kim A, Roose S. Sensation and Psychiatry: Linking Age-Related Hearing Loss to Late-Life Depression and Cognitive Decline. American Journal of Psychiatry. 2018;175(3):215-224.