kr_ARC-23_hero.jpg

ได้ยินดี สมองเฉียบคม

ด้วยการได้ยินที่ชัดเจน และสมองที่เฉียบคมในวัย 60 ปี คุณจึงสามารถเพลิดเพลินกับทุกโอกาสในการใช้ชีวิต1-6

การสูญเสียการได้ยินในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี

การสูญเสียการได้ยินในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี

การสูญเสียการได้ยินที่เกี่ยวข้องกับอายุ (presbycusis) คือการสูญเสียการได้ยินในหูทั้งสองข้างอย่างช้า ๆ ซึ่งเป็นอาการตามปกติเมื่ออายุมากขึ้น7

หากคุณเป็นหนึ่งในผู้ที่ต้องทนทรมานจากการสูญเสียการได้ยินในระดับรุนแรงถึงหูหนวก การได้ยินของคุณอาจลดลงจนถึงจุดที่แม้แต่เครื่องช่วยฟังที่ทรงพลังที่สุดก็ไม่สามารถช่วยให้สมองทำความเข้าใจกับเสียงบางเสียงได้อย่างชัดเจน7,12

kr_ARC-23_img05.jpg

การสูญเสียการได้ยินในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี

การสูญเสียการได้ยินที่เกี่ยวข้องกับอายุ (presbycusis) คือการสูญเสียการได้ยินในหูทั้งสองข้างอย่างช้า ๆ ซึ่งเป็นอาการตามปกติเมื่ออายุมากขึ้น7

หากคุณเป็นหนึ่งในผู้ที่ต้องทนทรมานจากการสูญเสียการได้ยินในระดับรุนแรงถึงหูหนวก การได้ยินของคุณอาจลดลงจนถึงจุดที่แม้แต่เครื่องช่วยฟังที่ทรงพลังที่สุดก็ไม่สามารถช่วยให้สมองทำความเข้าใจกับเสียงบางเสียงได้อย่างชัดเจน7,12

คุณเคยสูญเสียการได้ยินหรือไม่

คุณเคยสูญเสียการได้ยินหรือไม่

การสูญเสียการได้ยินที่เกิดจากอายุที่มากขึ้นนั้นอาจเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป คุณจึงไม่ทันสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในช่วงแรก9-10 แม้ขณะที่ใส่เครื่องช่วยฟังอยู่

  • คุณมีความยากลำบากในการฟังในที่ที่มีเสียงดังหรือไม่
  • คุณขอให้ผู้อื่นพูดทวนซ้ำบ่อย ๆ หรือไม่
  • คุณเร่งระดับเสียงขณะดูโทรทัศน์หรือไม่
  • คุณมีความยากลำบากในการคุยโทรศัพท์หรือไม่8

หากคุณใส่เครื่องช่วยฟังอยู่ แต่ยังตอบ ‘ใช่’ ในคำถามข้อใดก็ตาม ประสาทหูเทียมอาจเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกสำหรับคุณ

TH-th-Web-ARC-24_img02.jpg

คุณเคยสูญเสียการได้ยินหรือไม่

การสูญเสียการได้ยินที่เกิดจากอายุที่มากขึ้นนั้นอาจเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป คุณจึงไม่ทันสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในช่วงแรก9-10 แม้ขณะที่ใส่เครื่องช่วยฟังอยู่

  • คุณมีความยากลำบากในการฟังในที่ที่มีเสียงดังหรือไม่
  • คุณขอให้ผู้อื่นพูดทวนซ้ำบ่อย ๆ หรือไม่
  • คุณเร่งระดับเสียงขณะดูโทรทัศน์หรือไม่
  • คุณมีความยากลำบากในการคุยโทรศัพท์หรือไม่8

หากคุณใส่เครื่องช่วยฟังอยู่ แต่ยังตอบ ‘ใช่’ ในคำถามข้อใดก็ตาม ประสาทหูเทียมอาจเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกสำหรับคุณ

รักษาสมองให้คงความเฉียบคมแม้ในวัย 60

รักษาสมองให้คงความเฉียบคมแม้ในวัย 60

ทราบหรือไม่ว่า มีหลักฐานเพิ่มมากขึ้นที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการสูญเสียการได้ยินและภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ14-15

งานวิจัยพบว่า หากคุณมีอายุเกิน 60 ปี และมีอาการสูญเสียการได้ยินที่โสตประสาทในระดับรุนแรงถึงหูหนวก ประสาทหูเทียมอาจช่วยให้คุณ:

  • ได้ยินอีกครั้งเมื่อเครื่องช่วยฟังของคุณใช้งานได้
    ไม่เพียงพอ1-2
  • คิด เรียนรู้ และจดจำได้ดีขึ้น16
  • เชื่อมต่อกับสิ่งรอบตัวได้อยู่เสมอ16
  • เพลิดเพลินกับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น5

การได้ยินที่มีคุณภาพสามารถช่วยรักษาความเฉียบคมของสมอง และยังช่วยรักษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างคุณกับผู้คนรอบตัว1-5 ช่วยให้คุณใช้ชีวิตได้อย่างเต็มที่ในวัย 60

kr_ARC-23_img01.jpg

รักษาสมองให้คงความเฉียบคมแม้ในวัย 60

ทราบหรือไม่ว่า มีหลักฐานเพิ่มมากขึ้นที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการสูญเสียการได้ยินและภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ14-15

งานวิจัยพบว่า หากคุณมีอายุเกิน 60 ปี และมีอาการสูญเสียการได้ยินที่โสตประสาทในระดับรุนแรงถึงหูหนวก ประสาทหูเทียมอาจช่วยให้คุณ:

  • ได้ยินอีกครั้งเมื่อเครื่องช่วยฟังของคุณใช้งานได้
    ไม่เพียงพอ1-2
  • คิด เรียนรู้ และจดจำได้ดีขึ้น16
  • เชื่อมต่อกับสิ่งรอบตัวได้อยู่เสมอ16
  • เพลิดเพลินกับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น5

การได้ยินที่มีคุณภาพสามารถช่วยรักษาความเฉียบคมของสมอง และยังช่วยรักษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างคุณกับผู้คนรอบตัว1-5 ช่วยให้คุณใช้ชีวิตได้อย่างเต็มที่ในวัย 60

ประสาทหูเทียมทำงานอย่างไร

ประสาทหูเทียมทำงานอย่างไร

ประสาทหูเทียมเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กที่ต้องได้รับการผ่าตัดฝังโดยศัลยแพทย์หู คอ จมูก ประกอบด้วยสองส่วน:

  • เครื่องแปลงสัญญาณเสียงที่สวมใส่ภายนอก
  • ประสาทหูเทียมขนาดเล็ก

ทั้งสองส่วนยังช่วยกันจับเสียงจากสิ่งแวดล้อมและส่งโดยตรงไปยังเส้นประสาทการได้ยิน ช่วยคงความชัดเจน แม้ในสภาพแวดล้อมที่มีเสียงดัง1, 17-18

หากคุณมีอายุมากกว่า 60 ปี และไม่ได้ประโยชน์จากการใส่เครื่องช่วยฟังอีกต่อไป ประสาทหูเทียมอาจเป็นตัวเลือกที่ช่วยให้คุณได้ยินอย่างชัดเจนอีกครั้ง1, 17-18

ประสาทหูเทียมทำงานอย่างไร

ประสาทหูเทียมเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กที่ต้องได้รับการผ่าตัดฝังโดยศัลยแพทย์หู คอ จมูก ประกอบด้วยสองส่วน:

  • เครื่องแปลงสัญญาณเสียงที่สวมใส่ภายนอก
  • ประสาทหูเทียมขนาดเล็ก

ทั้งสองส่วนยังช่วยกันจับเสียงจากสิ่งแวดล้อมและส่งโดยตรงไปยังเส้นประสาทการได้ยิน ช่วยคงความชัดเจน แม้ในสภาพแวดล้อมที่มีเสียงดัง1, 17-18

หากคุณมีอายุมากกว่า 60 ปี และไม่ได้ประโยชน์จากการใส่เครื่องช่วยฟังอีกต่อไป ประสาทหูเทียมอาจเป็นตัวเลือกที่ช่วยให้คุณได้ยินอย่างชัดเจนอีกครั้ง1, 17-18

หาความช่วยเหลือด้านค่าใช้จ่ายสำหรับประสาทหูเทียม

หาความช่วยเหลือด้านค่าใช้จ่ายสำหรับประสาทหูเทียม

ตัวเลือกสำหรับผู้ที่มีความจำเป็นต้องใช้ประสาทหูเทียมในประเทศไทย ในการเข้าถึงความช่วยเหลือด้านค่าใช้จ่ายต่าง ๆ:

  • สิทธิประกันสังคม: ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมที่สูญเสียการได้ยินอย่างรุนแรงในหูทั้งสองข้างมีสิทธิ์ได้รับเงินช่วยเหลือในการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมตามที่สำนักงานประกันสังคมกำหนด โดยสามารถเบิกได้สูงสุดไม่เกิน 450,000 บาท
  • สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ: ข้าราชการปัจจุบันและเกษียณอายุ รวมถึงพ่อแม่ คู่สมรส และผู้อยู่ในความอุปการะ สามารถรับสวัสดิการช่วยเหลือได้สูงสุด 850,000 บาท

ติดต่อทีม Cochlear Care วันนี้เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลือกความช่วยเหลือที่เหมาะสำหรับคุณ*

TH-th-Web-ARC-24_img03.jpg

หาความช่วยเหลือด้านค่าใช้จ่ายสำหรับประสาทหูเทียม

ตัวเลือกสำหรับผู้ที่มีความจำเป็นต้องใช้ประสาทหูเทียมในประเทศไทย ในการเข้าถึงความช่วยเหลือด้านค่าใช้จ่ายต่าง ๆ:

  • สิทธิประกันสังคม: ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมที่สูญเสียการได้ยินอย่างรุนแรงในหูทั้งสองข้างมีสิทธิ์ได้รับเงินช่วยเหลือในการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมตามที่สำนักงานประกันสังคมกำหนด โดยสามารถเบิกได้สูงสุดไม่เกิน 450,000 บาท
  • สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ: ข้าราชการปัจจุบันและเกษียณอายุ รวมถึงพ่อแม่ คู่สมรส และผู้อยู่ในความอุปการะ สามารถรับสวัสดิการช่วยเหลือได้สูงสุด 850,000 บาท

ติดต่อทีม Cochlear Care วันนี้เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลือกความช่วยเหลือที่เหมาะสำหรับคุณ*

ดูเพิ่มเติมเกี่ยวการได้ยินที่ชัดเจน

ดูเพิ่มเติมเกี่ยวการได้ยินที่ชัดเจน

หากคุณไม่สามารถได้ยินอย่างชัดเจน แม้สวมใส่เครื่องช่วยฟังอยู่ โปรดติดต่อ Cochlear Care Center ที่ 087-849-0225 คุณสามารถดาวน์โหลดโบรชัวร์ของเราได้ฟรี

TH-web_ARC-24_img01.jpeg

ดูเพิ่มเติมเกี่ยวการได้ยินที่ชัดเจน

หากคุณไม่สามารถได้ยินอย่างชัดเจน แม้สวมใส่เครื่องช่วยฟังอยู่ โปรดติดต่อ Cochlear Care Center ที่ 087-849-0225 คุณสามารถดาวน์โหลดโบรชัวร์ของเราได้ฟรี

การรักษาการได้ยินและการใช้อุปกรณ์ช่วยการได้ยิน ควรอยู่ภายใต้คำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพของคุณเท่านั้น อาจได้ผลลัพธ์แตกต่างออกไป และผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพของคุณจะแนะนำคุณเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ ประสาทหูเทียมใช้สำหรับการรักษาการสูญเสียการได้ยินในระดับรุนแรงถึงหูหนวก ปฏิบัติตามคำแนะนำการใช้งานเสมอ ผลิตภัณฑ์บางตัวอาจมีในบางประเทศเท่านั้น สำหรับระบบ Cochlear™Nucleus®, Osia® และ Baha®: ผลิตภัณฑ์นี้ไม่มีวางจำหน่ายโดยทั่วไป กรุณาสอบถามรายละเอียดจากตัวแทนจำหน่าย Cochlear ในพื้นที่ใกล้เคียงสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์

สำหรับรายการเครื่องหมายการค้าของ Cochlear ฉบับสมบูรณ์ โปรดไปที่หน้าข้อกำหนดในการใช้งาน ของเรา

*เกณฑ์การพิจารณาขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่ทำการรักษา สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต์ทางการของ สำนักงานประกันสังคม และ กรมบัญชีกลาง

การอ้างอิง
  1. Fitzpatrick EM, Leblanc S. Exploring the factors influencing discontinued hearing aid use in patients with unilateral cochlear implants. Trends in Amplification. 2010, 14; (4): 199–210.
  2. Crowson MG, Semenov YR, Tucci DL, Niparko JK. Quality of life and cost-effectiveness of cochlear implants: A narrative review. Audiol Neurotol. 2017, 22: 236 – 258.
  3. Völter C, Götze L, Dazert S, Falkenstein M, Thomas JP. Can cochlear implantation improve neurocognition in the aging population? Clin Interv Aging. 2018, 13: 701–712.
  4. Mosnier I, Bebear JP, Marx M, Fraysse B, Truy E, Lina-Granade G, Mondain M, Sterkers-Artières F, Bordure P, Robier A, Godey B, Meyer B, Frachet B, Poncet-Wallet C, Bouccara D, Sterkers O. Improvement of cognitive function after cochlear implantation in elderly patients JAMA Otolaryngol Head Neck Surg. 2015, 141; (5):442-50.
  5. Mosnier I, Vanier A, Bonnard D, Lina-Granade G, Truy E, Bordure P, Godey B, Marx M, Lescanne E, Venail F, Poncet C, Sterkers O, Belmin J. Long-term cognitive prognosis of profoundly deaf older adults after hearing rehabilitation using cochlear implants. J Am Geriatr Soc. 2018, 66; (8): 1553-1561.
  6. World Health Organisation. Decade of Healthy Ageing Plan of Action. (Internet). Geneva (CH): World Health Organisation (cited February 2023). Available from: https://www.who.int/publications/m/item/decade-of-healthy-ageing-plan-of-action (accessed May 2022)
  7. Johns Hopkins Medicine, Age-Related Hearing Loss (Internet). Baltimore, Maryland (US): Johns Hopkins Medicine (cited 2021). Available from: https://www.hopkinsmedicine.org/health/conditions-and-diseases/presbycusis (accessed May 2022)
  8. Access Economics. Listen Hear! The economic impact and cost of hearing loss in Australia. (Internet). Access Economics Pty Ltd (2006), (cited February 2023). Available from https://hearnet.org.au/wp-content/uploads/2015/10/ListenHearFinal.pdf; 35. (accessed February 2023)
  9. Leo de Raeve, European Association of Cochlear Implant Users EURO-CIU: The relationship between hearing loss and depression, cognition, and dementia
  10. Raman G, Lee J, Chung Met al., authors; Sen S, editor. Effectiveness of Cochlear Implants in Adults with Sensorineural Hearing Loss [Internet]. Rockville (MD): Agency for Healthcare Research and Quality (US); 2011 Jun 17. Introduction. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK285762/
  11. Croll PH, Vernooij MW, Reid RI, et al. Alzheimers Dement 2020 Nov;16(11):1515-1523. doi: 10.1002/alz.12151.
  12. Walling AD, Dickson GM. Hearing loss in older adults. Am Fam Physician. 2012;85(12):1150–56.
  13. Lin F.R., Yaffe K., Xia J., et al. (2013). Hearing loss and Cognitive Decline in Older Adults.
  14. International Consensus paper; Buchman et al. (2020) Unilateral Cochlear Implants for Severe, Profound, or Moderate Sloping to Profound Bilateral Sensorineural Hearing Loss: A Systematic Review and Consensus Statements.
  15. World Health Organisation. World Report on Hearing. (Internet). Geneva (CH): World Health Organisation (cited February 2023). Available from: https://www.who.int/publications/i/item/world-report-on-hearing, (accessed May 2022)
  16. Mosnier et al 2014. Predictive Factors of Cochlear Implant Outcomes in the Elderly. Audiol Neurotol 2014;19(suppl 1):15–20.
  17. Runge CL, Henion K, Tarima S, Beiter A, Zwolan TA. Clinical outcomes of the CochlearTM Nucleus® 5 cochlear implant system and SmartSoundTM 2 signal processing. J Am Acad Audiol. 2016, 27; (6): 425– 440.
  18. Rumeau C, Frere J, Montaut-Verient B, Lion A, Gauchard G, Parietti-Winkler C. Quality of life and audiologic performance through the ability to phone of cochlear implant users. Eur Arch Otorhinolaryngol. 2015, 272: 3685–3692.